วันอาทิตย์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2561

หูฟัง และ changer

Head set
หูฟัง (อังกฤษheadphone) เป็นอุปกรณ์เครื่องเสียงชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในประเภทอุปกรณ์แสดงผลข้อมูลในรูปแบบเสียง โดยมีหน้าที่คล้ายกับลำโพง ประกอบด้วยตัวหูฟัง จะได้ยินเสียงเมื่อนำไปครอบกับหู และไมโครโฟนขนาดเล็กในตัวสำหรับใช้สำหรับติดต่อสื่อสารเพื่อการพูดได้ เช่นทางโทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ เป็นต้น รวมถึงใช้เป็นสิ่งบันเทิงในการฟังเพลงเล่นวิดีโอเกมส์ ปรับให้เข้ากับกระบวนการทำงานต่าง ๆ ที่ต้องใช้เสียง สามารถพกพาไปในสถานที่ต่าง ๆ ได้เพราะมีน้ำหนักเบา
การเลือก Headset ควรคำนึงถึงอะไรบ้าง
อุปกรณ์ Headsetควรจะมีน้ำหนักเบา
รูปแบบของ Headset ไม่ใหญ่เทอะทะ ใช้งานสะดวก
วัสดุของอุปกรณ์ Headsetแข็งแรงทนทาน
สามารถปรับขนาดเมื่อสวมศีรษะให้ใหญ่หรือเล็กได้ 
เมื่อสวมใส่แล้วไม่บีบหรือกดบริเวณศีรษะเกินไป
ส่วนหูฟังจะต้องได้ยินเสียงที่ชัดเจนไม่มีเสียงรบกวน
ส่วนไมค์เมื่อเปล่งเสียงแล้วปลายทางได้ยินชัด เสียงรอบข้างไม่ควรจะดังกว่าผู้พูด ในบางรุ่นอาจมีตัดเสียงรบกวนรอบข้าง
การเลือก Headset ที่เหมาะสมจึงมีความสำคัญเป็นอย่างมาก อุปกรณ์ Headset ที่ดีมีคุณภาพ จะมีส่วนช่วยให้การสนทนาระหว่างเจ้าหน้าที่ Call Center และลูกค้าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ก่อให้เกิดปัญหาในการสื่อสารที่ไม่ชัดเจน
 
การดูแลรักษา Headset
ควรทำความสะอาดบริเวณหูฟังและไมค์ ก่อนใช้งานและหลังจากใช้งานทุกครั้ง เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค และป้องกันฝุ่นละอองที่อาจจะเข้าไปอุดตันได้
ระวังไม่ให้อุปกรณ์ Headset หล่นกระแทรก เพราะอาจก่อให้เกิดความเสียหาย อุปกรณ์เกิดชำรุด ไมค์มีเสียงรบกวน หูฟังเสียงแตกได้ยินไม่ชัดเจน
ส่วนสายของอุปกรณ์ หลังจากวางสายลูกค้าทุกครั้ง ควรเก็บสายให้เรียบร้อย เพราะสายที่ยาวนั้นอาจทำให้เจ้าหน้าที่สะดุด และรั้งให้อุปกรณ์ Headset ตกลงมากระแทกพื้นได้
ไม่ควรวางอุปกรณ์ Headset อย่างแรง จากประสบการณ์ของผู้เขียนเคยมี เจ้าหน้าที่ Call Center วางส่วนหูฟังและไมค์ของ Headset อย่างแรง บนโต๊ะทำงาน ด้วยอารมณ์ที่โมโหลูกค้า (ถึงแม้ว่าลูกค้าที่สนทนาก่อนหน้านั้นจะไม่ได้ยิน เพราะวางสายก่อน) แต่พฤติกรรมแบบนี้ก่อให้เกิดตวามเสียหายต่ออุปกรณ์สำคัญนี้ได้ 
การดูแลรักษาที่ถูกวิธีจะช่วยยืดอายุการใช้งานของอุปกรณ์ Headset ได้ เพราะเจ้าหน้าที่ Call Center ในบางแห่งอาจต้องใช้งาน อุปกรณ์ Headset ร่วมกัน
 
จะเห็นได้ว่าอุปกรณ์ Headset มีความสำคัญมาก สำหรับเจ้าหน้าที่ Call Center นอกจากจะต้องใช้อุปกรณ์นี้เป็นเวลาหลายชั่วโมงต่อวันแล้ว คุณสมบัติที่ดีเหมาะกับการใช้งานก็มีส่วนสำคัญที่ช่วยให้การทำงานเป็นไปอย่างราบรื่น และการดูแลรักษาที่ดี จะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาอีกด้วย

Charger Connector
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ charger connector คือ

EV Charger (สถานีชาร์จรถยนต์ไฟฟ้า) คืออะไร?

EV Charger หรือ สถานีชาร์จรถไฟฟ้า ทำหน้าที่เป็นตัวชาร์จพลังงานไฟฟ้าให้กับแบตเตอรี่รถยนต์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้า โดยสามารถแบ่งการชาร์จออกเป็น 2 ประเภท คือ Normal Charge และ Quick Charge

1. Normal Charge เป็นการชาร์จด้วยไฟ AC โดยชาร์จผ่าน On Board Charger ที่ยู่ภายในตัวรถยนต์ไฟฟ้า ซึ่งทำหน้าที่ในการแปลงไฟ AC ไปเป็นไฟ DC ขนาดของตัว On Board Charger จะขึ้นอยู่กับยี่ห้อรถยนต์ ซึ่งขนาดของ On Board Charger จะมีผลต่อระยะเวลาในการชาร์จไฟของแบตเตอรี่รถยนต์
ยกตัวอย่างเช่น รถยนต์ไฟฟ้าที่มีแบตเตอรี่รถยนต์ขนาด 24 KWh และมี On Board Charger ขนาด 3KW ระยะเวลาในการชาร์จจะอยุ่ที่ 8 ชั่วโมง

2. Quick Charge จะเป็นการชาร์จโดยใช้ตู้ EV Charger (สถานีชาร์จรถไฟฟ้า) ที่แปลงไฟ AC ไปเป็นไฟ DC แล้วจ่ายไฟ DC เข้าที่แบตเตอรี่รถยนต์ไฟฟ้าโดยตรง ซึ่งระยะเวลาที่ใช้ในการชาร์จจะน้อยกว่าแบบ Normal Charger หัวชาร์จ (SOCKET) ของตู้ EV Charger จะมีทั้งแบบที่เป็น AC และ แบบ DC ประเภทของหัวชาร์จจะขึ้นอยู่กับมาตรฐานของผู้ผลิตรถยนต์
ยกตัวอย่างเช่น รถยนต์ไฟฟ้าที่มีแบตเตอรี่รถยนต์ขนาด 24kWh โดยใช้ตู้ EV Charger แบบ Quick Charge ที่มีกำลังชาร์จอยู่ที่ 50kW ระยะเวลาในการชาร์จจะอยู่ที่ไม่เกิน 1/2 ชั่วโมง

การเลือกติดตั้ง EV Charger ให้เหมาะสมกับการใช้งาน

การติดตั้งอุปกรณ์ EV Charger ตามสถานที่ต่างๆ จะเลือกตามความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการชาร์จ ยกตัวอย่างเช่น บ้านพัก ควรติดตั้ง EV Charger แบบ AC ก็เพียงพอ ถึงจะใช้เวลาในการชาร์จนาน แต่เวลาที่เราใช้ภายในบ้านก็ค่อยข้างนานเช่นกัน หรือ ถ้าต้องการตั้งเป็นสถานี EV Charger ที่ต้องการความเร็วในการชาร์จ ก็สามารถเลือกเป็นการชาร์จแบบ DC ซึ่งมีระดับการชาร์จถึง 3 ระดับ คือ DC destination , DC fast และ DC High Power ระยะเวลาที่ใช้ในการชาร์จจะน้อยลงตามลำดับ

ความคิดเห็น

ช่องเสียบแฟลช

ช่องเสียบแฟลชขนาดกะทัดรัด

                       à¸œà¸¥à¸à¸²à¸£à¸„้นหารูปภาพสำหรับ flash connector
ตัวเชื่อมต่อ Compact Flash ถูกรวมเข้ากับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบพกพาเพื่อรองรับการจัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ CompactFlash (CF) เป็นรูปแบบอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ที่ใช้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบพกพา ตัวเชื่อมต่อ CompactFlash ยังคงได้รับการสนับสนุนจากอุปกรณ์สิ้นเปลืองสำหรับผู้บริโภคระดับไฮเอนด์และในงานระดับมืออาชีพ CompactFlash ยังคงเป็นส่วนสำคัญในอุปกรณ์ต่างๆเช่นกล้องดิจิตอล CFast เป็นรูปแบบ CompactFlash ที่ใช้บัส Serial ATA
ตัวเชื่อมต่อแฟลชสำหรับพีซีไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และตั้งชื่อว่า "PC" ประเภทนี้เป็นเวลากว่า 30 ปี PC หรือ Prontor / Compur ซ็อกเก็ตการซิงค์แฟลชภายนอกและในขณะที่ฉันเคยเป็นมาตรฐานสำหรับกล้องทั้งหมดยกเว้นกล้องที่ง่ายที่สุดวันนี้มีเพียงกล้องที่ดีที่สุดเท่านั้น
ตัวเชื่อมต่อแฟลชของ PC ถูกคิดค้นขึ้นในปี 1950 โดยผู้ผลิตบานเกล็ดสองแห่งคือ Gauthier และ Deckel เป็นวิธีการเชื่อมต่อแฟลชภายนอกเข้ากับชัตเตอร์แบบมาตรฐานเพื่อให้ชัตเตอร์สามารถทำข้อมูลให้ตรงกันกับแฟลชได้อย่างน่าเชื่อถือ มีซ็อกเก็ตแกนร่วมขนาด 3.5 มม. (1/8 นิ้ว) ที่เสียบปลั๊กและตะกั่วเสริมเข้ากับแฟลช แม้จะมีการกำหนดโดยองค์การมาตรฐานสากล (ISO 519)
ในปีพศ. ศ. 2550 เครื่องเชื่อมต่อแฟลชของ PC ให้บริการบานมิด - ใบซึ่งจะต้องเปิดให้เต็มที่ก่อนที่จะมีการเปิดใช้งานแฟลช ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาชัตเตอร์ระนาบโฟกัสก็เข้าครอบงำ แต่ทำงานได้ดีกับเหล่านี้ กว่า 60 ปีในโปรและกึ่งโปรกล้องยังคงมีขั้วต่อเพื่อให้สามารถเชื่อมต่อกับระบบแฟลชสตูดิโอเช่นเดียวกับโปรแฟลชหน่วยในวงเล็บ การอยู่รอดของตนในช่วงระยะเวลาอันยาวนานนี้ลดลงไปถึงความเรียบง่ายและต้นทุนต่ำและแพร่หลาย
อย่างไรก็ตามในฐานะที่เป็นช่างภาพมืออาชีพที่มีประสบการณ์ทราบว่าช่องเชื่อมต่อแฟลชของ PC อาจไม่เป็นที่น่าเชื่อถือถ้าคุณภาพของปลั๊กและส่วนติดต่อไม่ดีหรือชำรุด
อาจเป็นปัญหาใหญ่ที่สุดที่ผู้คนต้องสูญเสียฝาครอบพลาสติกขนาดเล็กที่ป้องกันขั้วต่อ วันของการเชื่อมต่อแฟลช PC อาจมีหมายเลขเป็นสัญญาณไร้สายของแฟลชอิเล็กทรอนิกส์ภายนอกกลายเป็นที่แพร่หลายมากขึ้น แต่ในขณะนี้ยังคงให้วิธีที่ง่ายและราคาไม่แพงในการส่องสว่างฉากในเวลาที่เหมาะสม

การออกแบบเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่

การออกแบบเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่
โทรศัพท์มือถือ หรือ โทรศัพท์เคลื่อนที่ คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการสื่อสารสองทางผ่าน โทรศัพท์มือถือใช้คลื่นวิทยุในการติดต่อกับเครือข่ายโทรศัพท์มือถือโดยผ่านสถานีฐาน โดยเครือข่ายของโทรศัพท์มือถือแต่ละผู้ให้บริการจะเชื่อมต่อกับเครือข่ายของโทรศัพท์บ้านและเครือข่ายโทรศัพท์มือถือของผู้ให้บริการอื่นโทรศัพท์มือถือที่มีความสามารถเพิ่มขึ้นในลักษณะคอมพิวเตอร์พกพาจะถูกกล่าวถึงในชื่อสมาร์ทโฟน



               โทรศัพท์มือถือในปัจจุบันนอกจากจากความสามารถพื้นฐานของโทรศัพท์แล้ว ยังมีคุณสมบัติพื้นฐานของโทรศัพท์มือถือที่เพิ่มขึ้นมา เช่น การส่งข้อความสั้นเอสเอ็มเอส ปฏิทิน นาฬิกาปลุก ตารางนัดหมาย เกม การใช้งานอินเทอร์เน็ต บลูทูธ อินฟราเรด กล้องถ่ายภาพ เอ็มเอ็มเอสวิทยุ เครื่องเล่นเพลง และ จีพีเอส และมีการพัฒนา 2G และ 3G  G  ย่อมาจากคำว่า (Generation) โทรศัพท์มือถือในยุค    2 G เป็นระบบโทรศัพท์มือถือแบบ digital ระบบที่จัดอยู่ในยุคนี้เช่น GSMcdmaOnePDC มีการพัฒนารูปแบบการส่งคลื่นเสียงแบบ Analog มาเป็น Digital โดยการเข้ารหัส โดยส่งคลื่นเสียงมาทางคลื่นไมโครเวฟ และพัฒนามาเป็นยุคของ 2.5 G ระบบโทรศัพท์มือถือแบบ   digital ที่เริ่มนำระบบ packet switching มาใช้ ระบบที่จัดอยู่ในยุคนี้เช่น GPRS  ซึ่งพัฒนาในเรื่องของการรับส่งข้อมูลที่มากขึ้น หน้าจอ  โทรศัพท์เริ่มเข้าสู่ยุคหน้าจอสี และเสียงเรียกเข้าก็ถูกพัฒนาให้เป็นเสียงแบบ Polyphonic จากของเดิมที่เป็น Monotone และเข้ามาสู่ยุคที่ เสียงเรียกเข้าเป็นแบบ MP3  2.75G ยุคนี้เป็นยุคของ EDGE (Enhanced Data rates for Global Evolution) ที่พัฒนาต่อยอดมาจาก GPRS นั่นเอง และในปัจจุบันนี้เราก็ยังคงได้ยินและมีการใช้เทคโนโลยีนี้กันอยู่ ซึ่งได้พัฒนาในเรื่องของความเร็วในการรับส่งข้อมูลไร้สาย ต่อมาเทคโนโลยีได้มีการพัฒนามาถึง3G ระบบโทรศัพท์มือถือแบบ digital ยุคนี้จะเน้นการสื่อสารทั้งการพูดคุยแบบเสียงตามปกติและ แบบรับส่งข้อมูลซึ่งในส่วนของการรับส่งข้อมูล ที่ทำให้ 3G นั้นต่างจากระบบเก่า 2G ที่มีพื้นฐานในการพูดคุยแบบเสียงตามปกติอยู่มากเนื่องจากเป็นระบบที่ทำขึ้นมาใหม่เพื่อให้รองรับกับการรับส่งข้อมูลโดยตรง มีช่องความถี่และความจุในการรับส่งสัญญาณที่มากกว่า ส่งผลให้การรับส่งข้อมูลหรือการใช้อินเทอร์เน็ตผ่านมือถือนั้นเร็วมากขึ้นแบบก้าวกระโดด ประสิทธิภาพในการใช้งานด้านมัลติมีเดียดีขึ้น ซึ่ง นิยมกันมากในปัจจุบัน


    ในปัจจุบันเครือข่ายการสื่อสารข้อมูลทางโทรศัพท์มือถือได้พัฒนามาถึงยุคที่ 4 หรือ 4G ระบบโทรศัพท์มือถือแบบ Real-Digital พัฒนาในเรื่องความเร็วในการรับส่งข้อมูล ที่ทำได้เร็วขึ้นถึง 100 Mpbs เลยทีเดียว สำหรับความเร็วขนาดนี้นั้น ทำให้สามารถใช้งาน  โทรศัพท์มือถือ หรือ Tablet ของคุณได้หลากหลายยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็น การดูไฟล์วีดิโอออนไลน์ด้วยความคมชัด และไม่มีการกระตุก, การสื่อสารข้ามประเทศ อย่างโทรศัพท์แบบเห็นหน้ากันแบบโต้ตอบทันที (Video Call) หรือจะเป็นการประชุมผ่านโทรศัพท์ (Mobile  teleconferencing) ก็เป็นเรื่องง่ายขึ้น แถมยังมีค่าใช้จ่ายน้อยลงอีกด้วย สามารถเชื่อมต่อข้อมูล 3 แบบ ภาคพื้นดิน CDMA PA-H และการเชื่อมต่อ ewifi และ Wi-Max เพื่อการเชื่อมภาพและเสียงเป็นข้อมูลเดียวกัน


การออกแบบเครือข่ายขนาดใหญ่

                ในการออกแบบเครือข่ายแลนนั้น ภายในเครือข่ายเดียวอาจมีเครือข่ายย่อยอยุ่ภายในอีกหลายเครือข่ายก็ได้ ซึ่งการออกแบบเพื่อกำหนดรายละเอียดภายในเครือข่ายย่อยเหล่านี้จะช่วยให้รู้ถึงอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้มากขึ้น
    โดยสรุปแล้วขั้นตอนการออกแบบเครือข่าย  มีดังนี้
    สารวจความต้องการของผู้ใช้
    ความสาคัญของการออกแบบระบบเครือข่ายสิ่งที่สาคัญเป็นอันดับแรกๆคือการสารวจคอมต้องการ ของผู้ใช้และบทบาทหน้าที่ขององค์กรนั้นๆเพราะจะทาให้เราได้ข้อมูลแนวทางการออกแบบเพื่อพัฒนาระบบเครือข่ายที่รองรับและตรงต่อความต้องการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพโดยเราสามารถสารวจความต้อการได้จากการวิเคราะห์แผนกลยุทธ์ขององค์กรแผนงานด้านสารสนเทศและออกแบบสอบถามเพื่อใช้ข้อมูลสาหรับการวิเคราะห์และออกแบบระบบเครือข่ายต่อไป
    ประมวลผลความต้อการของผู้ใช้งาน
    นำข้อมูลความต้องการของผู้ใช้มาประมวลผลให้เป็นข้อมูลทางเทคนิคโดยสามารถวิเคราะห์ความต้องการดังกล่าวเทียบกับOSI Model 7 Layers
     ออกแบบระบบเครือข่ายเบื้องต้น
    หลังจากได้ข้อมูลความต้องการของผู้ใช้ข้อมูลระบบเครือข่ายเดิม (ถ้ามีกรณีปรับปรุงให้ของเดิมดีขึ้นข้อมูลจากผู้ขายและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงก็นามาเขียนเป็นเครือข่ายคร่าวๆออกมาอาจใช้เครื่องมือสาหรับเขียนโครงสร้างทางเครือข่ายเช่น SmartDraw หรือ MS Visio เป็นต้น
    ประเมินค่าใช้จ่ายจากแบบเครือข่ายเบื้องต้น
        การเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายทาเพื่อให้เห็นถึงจุดเด่นจุดด้อยของระบบในแต่ละรูปแบบและยัง
    สามารถนาผลวิเคราะห์ที่ได้นาเสนอให้ผู้บริหารเพื่อใช้เป็นสารสนเทศประกอบการตัดสินใจได้จากข้อ 1 ถึง 3 ข้างต้นจะทาให้เราได้ตัวแบบเบื้องต้นซึ่งจะนามาวิเคราะห์อย่างละเอียนในขั้นการประเมินนี้โดยจะวิเคราะห์ควบคู่กับข้อมูลที่ได้จากการพิจารณาเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายและจะมีการปรับแก้จนกว่าจะเป็นที่น่าพอใจของทุกฝ่ายและได้เป็นแบบระบบเครือข่ายจริงเพื่อใช้เป็นแนวทางหลักในการดาเนินการต่อไป



วันศุกร์ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2561

ไอซีที่ใช้งานในโทรศัพรุ่นต่างๆ


ไอซีที่ใช้งานในโทรศัพ รุ่นต่างๆ


BCM4343SKUBG ใช้งานกับ wifi Sam.i8160,G355,P3100

BCM4343SKUBG ใช้งานกับ wifi Samsung G360

BCM4334SKUBG ใช้งานกับ wifi Samung i9082,i8190

6005G-CF1B ใช้งานกับ wifi Samsung i8552,S7562

KM4001014 ใช้งานกับ wifi Sam. i9190,S4 mini

วันพฤหัสบดีที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2561

ภาคBaseband

บเบสแบนด์ (Baseband)

                         à¸£à¸¹à¸›à¸ à¸²à¸žà¸—ี่เกี่ยวข้อง

จะเป็นการสื่อสารข้อมูลที่สายสัญญาณหรือตัวกลางในการส่งผ่านสัญญาณสามารถส่งได้เพียงหนึ่งสัญญาณในเวลาขณะใดขณะหนึ่งเท่านั้น นั่นคือ อุปกรณ์ที่ใช้งานสายสัญญาณในขณะนั้นจะครอบครองช่องสัญญาณทั้งหมดโดยอุปกรณ์อื่นจะไม่สามารถร่วมใช้งานได้เลย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ ระบบโทรศัพท์ เป็นต้น ซึ่งการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ส่วนมากจะเป็นการสื่อสารแบบ Baseband รวมทั้งการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อื่น ๆ(เช่น เครื่องพิมพ์ จอภาพ) การสื่อสารผ่าน modems และการสื่อสารผ่านเครือข่ายหลักๆ ด้วย ยกเว้นเครือข่ายแบบ B-ISDN ที่เป็นแบบ Broadband
Baseband  คือการเข้ารหัส ทางดิจิตอล โดยมีค่าทางไฟฟ้า 0 และ 1 โดยแบ่งออกเป็ตามมาตรฐาน ต่างๆ ดังนี้ 10 Base 5 , 10 ฺBase 2 ,10 Base-T, 1Base5 และ 100ฺBase-T โดยตามมาตรฐานคือการส่งสัญญาณ 10 Base xx คือ 10 Mbps ส่วนด้านหลังคือความยาวของสาย เช่น 100Base -T คือ ความเร็ว 100 Mbps ใช้บนสาย Pair หรือสายแลน
โดย   Baseband   จะใช้วิธีการส่ง คือช่องสื่อสารเดียว ซึ่งแตกต่างกับ แบบ  Broadband ที่ สายสัญญาณ 1 เส้น สามารถ ใช้ได้หลายๆช่องสัญญาณ ด้วยเทคนิคดังกล่าวจะเห็นได้ว่าค่ายๆ บริษัทอินเตอร์เน็ต นำมาใช้กันเพราะช่วยลดค่าใช้จ่าย และการบำรุงรักษา ได้เป็นอย่างดี

การเข้ารหัส โดยสัญญาณด้านบนเป็น สัญญาณ นาฬิกา นำมา โดยสัญญาณแบบ Multiplex ได้มาจาก  modulator  NRZ(L) Exclusive OR หรือ Mod 2 ADD
โดยเราจะพบว่า Base Band เป็นการเข้ารหัส ทางดิจิตอล จากต้นทาง  ในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็น ในมือถือ หรือ Smart Phone ก็ยังใช้ Base Brand ยุเพราะจะส่งสัญญาณ แนวเส้นคลื่นแบบ FM  แต่ก็มีข้อจำกัดทางความเร็วเพราะ เป็นการส่งข้อมูลแบบทิศทางเดียว  หรือเทคโนโลยี CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access/Collision Detection) แปลเป็นไทยคือการส่งสัญญาณโดยใช้คลื่นพาหนะแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นตัวนำ
การส่งสัญญาณข้อมูลแบบ Baseband 
คอมพิวเตอร์ทำงานกับสัญญาณที่เป็นระบบดิจิทัล คือ แทนด้วย 0 กับ 1 หรือแรงดันไฟฟ้าสูงกับต่ำ ในระบบเครือข่ายแบบ LAN การส่งข้อมูลในลักษณะของสัญญาณดิจิทัลธรรมดานี้จะเรียกว่า Baseband คือใช้ความถี่พื้นฐานของสัญญาณข้อมูลจริง ไม่ได้ปรับปรุงแต่งเติมแต่อย่างใด แต่การส่งแบบนี้มีปัญหาคือ ถูกรบกวนได้ง่ายด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หรือสัญญาณรบกวนอื่น ๆ เพราะสัญญาณไฟฟ้ามีรูปแบบไม่แน่นอน แล้วแต่ตัวข้อมูลจริง ถ้ามีอะไรแปลกปลอมเข้ามาก็แยกได้ยากว่าอะไรคือข้อมูล อะไรคือสิ่งแปลกปลอม ดังนั้นจึงมีการนำเอาคลื่นความถี่สูงเข้าใช้เป็นคลื่นพาหะ (carrier) โดยผสมสัญญาณข้อมูลเข้ากับคลื่นพาหะนี้ในแบบของการผสมทางความถี่ (FM: Frequency Modulation) แบบเดียวกับการส่งวิทยุกระจายเสียง FM นั่นเอง แต่เนื่องจากสัญญาณที่เราผสมเข้าไปในคลื่นพาหะนี้มีเพียง 2 ระดับ คือ 0 กับ 1 ดังนั้นคลื่นที่ส่งจึงมีลักษณะเป็นสองความถี่สลับกันไป ดังรูป หรือในบางกรณีอาจใช้การผสมสัญญาณตามจังหวะหรือเฟส (phase) ของสัญญาณก็ได้ การที่นำคลื่นพาหะมาใช้นี้ทำให้ผู้รับสามารถแยกความแตกต่างระหว่างข้อมูล 0 กับ 1 ได้ดีขึ้น โดยดูจากความถี่ ซึ่งถูกรบกวนได้ยากกว่า และการใช้สัญญาณความถี่สูง (แถบความถี่กว้าง) มาช่วยในการส่งข้อมูลนี้ เราเรียกว่า Broadband

วิธีการนี้ดูเหมือนว่าจะมีประสิทธิภาพดีกว่าการส่งในแบบ Baseband และส่งได้ด้วยความเร็วสูงกว่า แต่ก็เสียค่าใช้จ่ายมากกว่า เพราะต้องเพิ่มอุปกรณ์ในการจัดการกับสัญญาณที่ความถี่สูงๆ ระดับความถี่วิทยุ (RF: Radio Frequency) เข้าไปด้วย และต้องใช้สาย STP หรือโคแอกเชียล ที่มีโลหะถักล้อมรอบสายกลางอยู่ ในการนำสัญญาณ 

ในปัจจุบันระบบเครือข่ายแบบ LAN จะยังคงใช้การรับส่งสัญญาณแบบ Baseband เป็นหลัก ส่วน Broadband จะใช้กับการรับส่งผ่านสายที่มีระยะทางไกล ๆ เช่นการในเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต โดยใช้ระบบ ADSL เป็นต้น

สำหรับการรับส่งสัญญาณผ่านสายใยแก้วนำแสงนั้น จะใช้สัญญาณแสงในแบบ Broadband โดยผสมสัญญาณดิจิทัลเข้ากับสัญญาณแสง ซึ่งมีความถี่สูงกว่าคลื่นวิทยุขึ้นไปอีก ทำให้สามารถรับส่งข้อมูลได้ในอัตราสูง

nterface หรือ UI       
                à¸œà¸¥à¸à¸²à¸£à¸„้นหารูปภาพสำหรับ user interface คือ
ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ (อังกฤษuser interface, UI) หมายถึง สิ่งที่มีไว้ให้ผู้ใช้ใช้ในการกระทำกับระบบหรือสิ่งของต่างๆ ซึ่งอาจจะเป็นคอมพิวเตอร์ เครื่องจักร เครื่องกล อุปกรณ์ใช้ไฟฟ้าใดๆ หรือระบบที่มีความซับซ้อนอื่นๆ เพื่อให้สิ่งๆนั้นทำงานตามความต้องการของผู้ใช้
ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้สามารถจัดได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ได้แก่
  • ส่วนที่นำข้อมูลเข้า หรือส่วนสั่งงาน เรียกว่า อินพุต (input)
  • ส่วนที่ใช้แสดงผลลัพธ์ หรือส่วนที่ไว้รอคำสั่งจากผู้ใช้ เรียกว่า เอาต์พุต (output)

ความนำ

การใช้งานระบบใดๆที่มีความสลับซับซ้อน จะมีหลักการทำงานพื้นฐานอยู่ 3 ส่วนคือ ส่วนอินพุท (input) ส่วนการประมวล (process) และส่วนเอาต์พุต (output) ซึ่งส่วนการนำเข้าและส่วนแสดงผลลัพธ์เป็นส่วนที่ใช้ติดต่อกับผู้ใช้โดยตรงจึงเรียกว่า ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้
ตัวอย่างของส่วนต่อประสานกับผู้ใช้เช่น เครื่องคิดเลข จะมีส่วนอินพุทคือแป้นตัวเลข 0-9 และเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ ผู้ใช้จะต้องกดหมายเลขที่ต้องการคำนวณผลผ่านแป้นตัวเลขนั้น และเมื่อเครื่องคิดเลขทำการประมวลผลเสร็จสิ้น ก็จะแสดงผลลัพธ์ออกมาบนหน้าจอ LED ซึ่งเป็นส่วนของเอาต์พุต
หรือเช่น รถยนต์ จะมีพวงมาลัยและคันเร่งไว้ให้ผู้ขับสามารถใช้บังคับทิศทางและเร่งความเร็ว ซึ่งส่วนนี้คือส่วนของอินพุท ส่วนหน้าปัดบอกความเร็วหน้าปัดบอกน้ำมันคงเหลือคือส่วนของเอาต์พุต ซึ่งจะช่วยให้ผู้ขับได้รู้ถึงสถานะของรถยนต์ที่ตนเองขับขี่อยู่

ความเหมาะสมต่อการใช้งาน

ในเรื่องของส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ มีศาสตร์หนึ่งที่เป็นส่วนระบุถึงคุณภาพของส่วนติดต่อผู้ใช้เรียกว่า ความเหมาะสมต่อการใช้งาน หรือ Usability
เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยการออกแบบส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ให้มีความเหมาะสมต่อการใช้งาน กล่าวคือสามารถใช้งานได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว โดยศาสตร์ของความเหมาะสมต่อการใช้งาน จะมีความเกี่ยวข้องกับด้าน จิตวิทยา และ สรีรวิทยา เป็นหลัก ซึ่งจิตวิทยาจะช่วยให้นักออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ สามารถคิดระบบระเบียบขั้นตอนวิธีการใช้งานที่ทำให้ผู้ใช้สามารถใช้งานอุปกรณ์ได้สะดวก และง่ายต่อการทำความเข้าใจ ส่วนสรีรวิทยาจะช่วยในการออกแบบให้อุปกรณ์นั้นเหมาะสมต่อกับใช้ในด้านสรีระ เช่น ความสะดวกต่อการจับถือ เป็นต้น

ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์

ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ในทางคอมพิวเตอร์ นั้นโดยมากจะหมายถึง การแสดงภาพกราฟิก หรือข้อความ หรือเสียง ให้ผู้ใช้ได้รับทราบและช่วยในการควบคุมขั้นตอนการใช้งานของผู้ใช้ต่อโปรแกรมที่กำลังใช้งานอยู่ ผ่าน แป้นพิมพ์หรือคีย์บอร์ดหรือ เมาส์

แฟลช คอนเนคเตอร์(Flash Connector)

ช่องเสียบแฟลชขนาดกะทัดรัด

                       à¸œà¸¥à¸à¸²à¸£à¸„้นหารูปภาพสำหรับ flash connector
ตัวเชื่อมต่อ Compact Flash ถูกรวมเข้ากับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบพกพาเพื่อรองรับการจัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ CompactFlash (CF) เป็นรูปแบบอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ที่ใช้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบพกพา ตัวเชื่อมต่อ CompactFlash ยังคงได้รับการสนับสนุนจากอุปกรณ์สิ้นเปลืองสำหรับผู้บริโภคระดับไฮเอนด์และในงานระดับมืออาชีพ CompactFlash ยังคงเป็นส่วนสำคัญในอุปกรณ์ต่างๆเช่นกล้องดิจิตอล CFast เป็นรูปแบบ CompactFlash ที่ใช้บัส Serial ATA
ตัวเชื่อมต่อแฟลชสำหรับพีซีไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และตั้งชื่อว่า "PC" ประเภทนี้เป็นเวลากว่า 30 ปี PC หรือ Prontor / Compur ซ็อกเก็ตการซิงค์แฟลชภายนอกและในขณะที่ฉันเคยเป็นมาตรฐานสำหรับกล้องทั้งหมดยกเว้นกล้องที่ง่ายที่สุดวันนี้มีเพียงกล้องที่ดีที่สุดเท่านั้น
ตัวเชื่อมต่อแฟลชของ PC ถูกคิดค้นขึ้นในปี 1950 โดยผู้ผลิตบานเกล็ดสองแห่งคือ Gauthier และ Deckel เป็นวิธีการเชื่อมต่อแฟลชภายนอกเข้ากับชัตเตอร์แบบมาตรฐานเพื่อให้ชัตเตอร์สามารถทำข้อมูลให้ตรงกันกับแฟลชได้อย่างน่าเชื่อถือ มีซ็อกเก็ตแกนร่วมขนาด 3.5 มม. (1/8 นิ้ว) ที่เสียบปลั๊กและตะกั่วเสริมเข้ากับแฟลช แม้จะมีการกำหนดโดยองค์การมาตรฐานสากล (ISO 519)
ในปีพศ. ศ. 2550 เครื่องเชื่อมต่อแฟลชของ PC ให้บริการบานมิด - ใบซึ่งจะต้องเปิดให้เต็มที่ก่อนที่จะมีการเปิดใช้งานแฟลช ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาชัตเตอร์ระนาบโฟกัสก็เข้าครอบงำ แต่ทำงานได้ดีกับเหล่านี้ กว่า 60 ปีในโปรและกึ่งโปรกล้องยังคงมีขั้วต่อเพื่อให้สามารถเชื่อมต่อกับระบบแฟลชสตูดิโอเช่นเดียวกับโปรแฟลชหน่วยในวงเล็บ การอยู่รอดของตนในช่วงระยะเวลาอันยาวนานนี้ลดลงไปถึงความเรียบง่ายและต้นทุนต่ำและแพร่หลาย
อย่างไรก็ตามในฐานะที่เป็นช่างภาพมืออาชีพที่มีประสบการณ์ทราบว่าช่องเชื่อมต่อแฟลชของ PC อาจไม่เป็นที่น่าเชื่อถือถ้าคุณภาพของปลั๊กและส่วนติดต่อไม่ดีหรือชำรุด
อาจเป็นปัญหาใหญ่ที่สุดที่ผู้คนต้องสูญเสียฝาครอบพลาสติกขนาดเล็กที่ป้องกันขั้วต่อ วันของการเชื่อมต่อแฟลช PC อาจมีหมายเลขเป็นสัญญาณไร้สายของแฟลชอิเล็กทรอนิกส์ภายนอกกลายเป็นที่แพร่หลายมากขึ้น แต่ในขณะนี้ยังคงให้วิธีที่ง่ายและราคาไม่แพงในการส่องสว่างฉากในเวลาที่เหมาะสม

et

                         à¸œà¸¥à¸à¸²à¸£à¸„้นหารูปภาพสำหรับ headset คือ
หูฟัง (อังกฤษheadphone) เป็นอุปกรณ์เครื่องเสียงชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในประเภทอุปกรณ์แสดงผลข้อมูลในรูปแบบเสียง โดยมีหน้าที่คล้ายกับลำโพง ประกอบด้วยตัวหูฟัง จะได้ยินเสียงเมื่อนำไปครอบกับหู และไมโครโฟนขนาดเล็กในตัวสำหรับใช้สำหรับติดต่อสื่อสารเพื่อการพูดได้ เช่นทางโทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ เป็นต้น รวมถึงใช้เป็นสิ่งบันเทิงในการฟังเพลงเล่นวิดีโอเกมส์ ปรับให้เข้ากับกระบวนการทำงานต่าง ๆ ที่ต้องใช้เสียง สามารถพกพาไปในสถานที่ต่าง ๆ ได้เพราะมีน้ำหนักเบา
การเลือก Headset ควรคำนึงถึงอะไรบ้าง
อุปกรณ์ Headsetควรจะมีน้ำหนักเบา
รูปแบบของ Headset ไม่ใหญ่เทอะทะ ใช้งานสะดวก
วัสดุของอุปกรณ์ Headsetแข็งแรงทนทาน
สามารถปรับขนาดเมื่อสวมศีรษะให้ใหญ่หรือเล็กได้ 
เมื่อสวมใส่แล้วไม่บีบหรือกดบริเวณศีรษะเกินไป
ส่วนหูฟังจะต้องได้ยินเสียงที่ชัดเจนไม่มีเสียงรบกวน
ส่วนไมค์เมื่อเปล่งเสียงแล้วปลายทางได้ยินชัด เสียงรอบข้างไม่ควรจะดังกว่าผู้พูด ในบางรุ่นอาจมีตัดเสียงรบกวนรอบข้าง
การเลือก Headset ที่เหมาะสมจึงมีความสำคัญเป็นอย่างมาก อุปกรณ์ Headset ที่ดีมีคุณภาพ จะมีส่วนช่วยให้การสนทนาระหว่างเจ้าหน้าที่ Call Center และลูกค้าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ก่อให้เกิดปัญหาในการสื่อสารที่ไม่ชัดเจน
 
การดูแลรักษา Headset
ควรทำความสะอาดบริเวณหูฟังและไมค์ ก่อนใช้งานและหลังจากใช้งานทุกครั้ง เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค และป้องกันฝุ่นละอองที่อาจจะเข้าไปอุดตันได้
ระวังไม่ให้อุปกรณ์ Headset หล่นกระแทรก เพราะอาจก่อให้เกิดความเสียหาย อุปกรณ์เกิดชำรุด ไมค์มีเสียงรบกวน หูฟังเสียงแตกได้ยินไม่ชัดเจน
ส่วนสายของอุปกรณ์ หลังจากวางสายลูกค้าทุกครั้ง ควรเก็บสายให้เรียบร้อย เพราะสายที่ยาวนั้นอาจทำให้เจ้าหน้าที่สะดุด และรั้งให้อุปกรณ์ Headset ตกลงมากระแทกพื้นได้
ไม่ควรวางอุปกรณ์ Headset อย่างแรง จากประสบการณ์ของผู้เขียนเคยมี เจ้าหน้าที่ Call Center วางส่วนหูฟังและไมค์ของ Headset อย่างแรง บนโต๊ะทำงาน ด้วยอารมณ์ที่โมโหลูกค้า (ถึงแม้ว่าลูกค้าที่สนทนาก่อนหน้านั้นจะไม่ได้ยิน เพราะวางสายก่อน) แต่พฤติกรรมแบบนี้ก่อให้เกิดตวามเสียหายต่ออุปกรณ์สำคัญนี้ได้ 
การดูแลรักษาที่ถูกวิธีจะช่วยยืดอายุการใช้งานของอุปกรณ์ Headset ได้ เพราะเจ้าหน้าที่ Call Center ในบางแห่งอาจต้องใช้งาน อุปกรณ์ Headset ร่วมกัน
 
จะเห็นได้ว่าอุปกรณ์ Headset มีความสำคัญมาก สำหรับเจ้าหน้าที่ Call Center นอกจากจะต้องใช้อุปกรณ์นี้เป็นเวลาหลายชั่วโมงต่อวันแล้ว คุณสมบัติที่ดีเหมาะกับการใช้งานก็มีส่วนสำคัญที่ช่วยให้การทำงานเป็นไปอย่างราบรื่น และการดูแลรักษาที่ดี จะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาอีกด้วย

Charger Connector
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ charger connector คือ

EV Charger (สถานีชาร์จรถยนต์ไฟฟ้า) คืออะไร?

EV Charger หรือ สถานีชาร์จรถไฟฟ้า ทำหน้าที่เป็นตัวชาร์จพลังงานไฟฟ้าให้กับแบตเตอรี่รถยนต์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้า โดยสามารถแบ่งการชาร์จออกเป็น 2 ประเภท คือ Normal Charge และ Quick Charge

1. Normal Charge เป็นการชาร์จด้วยไฟ AC โดยชาร์จผ่าน On Board Charger ที่ยู่ภายในตัวรถยนต์ไฟฟ้า ซึ่งทำหน้าที่ในการแปลงไฟ AC ไปเป็นไฟ DC ขนาดของตัว On Board Charger จะขึ้นอยู่กับยี่ห้อรถยนต์ ซึ่งขนาดของ On Board Charger จะมีผลต่อระยะเวลาในการชาร์จไฟของแบตเตอรี่รถยนต์
ยกตัวอย่างเช่น รถยนต์ไฟฟ้าที่มีแบตเตอรี่รถยนต์ขนาด 24 KWh และมี On Board Charger ขนาด 3KW ระยะเวลาในการชาร์จจะอยุ่ที่ 8 ชั่วโมง

2. Quick Charge จะเป็นการชาร์จโดยใช้ตู้ EV Charger (สถานีชาร์จรถไฟฟ้า) ที่แปลงไฟ AC ไปเป็นไฟ DC แล้วจ่ายไฟ DC เข้าที่แบตเตอรี่รถยนต์ไฟฟ้าโดยตรง ซึ่งระยะเวลาที่ใช้ในการชาร์จจะน้อยกว่าแบบ Normal Charger หัวชาร์จ (SOCKET) ของตู้ EV Charger จะมีทั้งแบบที่เป็น AC และ แบบ DC ประเภทของหัวชาร์จจะขึ้นอยู่กับมาตรฐานของผู้ผลิตรถยนต์
ยกตัวอย่างเช่น รถยนต์ไฟฟ้าที่มีแบตเตอรี่รถยนต์ขนาด 24kWh โดยใช้ตู้ EV Charger แบบ Quick Charge ที่มีกำลังชาร์จอยู่ที่ 50kW ระยะเวลาในการชาร์จจะอยู่ที่ไม่เกิน 1/2 ชั่วโมง

การเลือกติดตั้ง EV Charger ให้เหมาะสมกับการใช้งาน

การติดตั้งอุปกรณ์ EV Charger ตามสถานที่ต่างๆ จะเลือกตามความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการชาร์จ ยกตัวอย่างเช่น บ้านพัก ควรติดตั้ง EV Charger แบบ AC ก็เพียงพอ ถึงจะใช้เวลาในการชาร์จนาน แต่เวลาที่เราใช้ภายในบ้านก็ค่อยข้างนานเช่นกัน หรือ ถ้าต้องการตั้งเป็นสถานี EV Charger ที่ต้องการความเร็วในการชาร์จ ก็สามารถเลือกเป็นการชาร์จแบบ DC ซึ่งมีระดับการชาร์จถึง 3 ระดับ คือ DC destination , DC fast และ DC High Power ระยะเวลาที่ใช้ในการชาร์จจะน้อยลงตามลำดับ